โปรโมชั่น ดีๆ ที่ USUNGAME เท่านั้น

โปรโมชั่นคืนยอดเสีย รับโบนัส 3% ไม่จำกัด ทุกวัน

เงื่อนไข : การคืนยอดเสีย เริ่มรับได้ ทุกวัน ตั้งแต่ เวลา 01.00 น. ถึงเวลา 23.59 น. ของทุกวัน และรีเซทใหม่ทุกวัน

***บริษัทขอสงวนสิทธ์ในการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข ยกเลิกได้ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

ทำความรู้จักโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว หรือโรคไบโพลาร์ วันนี้แอด LOTTOSOD มาพร้อมกับโรคที่ทุกคนคุ้นชื่อกันดีและได้ยินกันบ่อยก็คือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วหรือโรคไบโพลาร์นั่นเองค่ะ หลายๆคนอาจจะนำมาใช้จนติดปากแต่ไม่อาจจะยังไม่รู้จักโรคนี้กันใช่ไหมละคะ วันนี้แอดเลยได้นำบทความ ทำความรู้จักโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว หรือโรคไบโพลาร์ มาให้ทุกท่านได้สังเกตุอาการของตนเองกันนะคะ

โรคไบโพลาร์ (bipolar disorder) หรือโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์สองแบบเปลี่ยนแปลงไปมาสลับกัน คือ อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ (mania) และอารมณ์ซึมเศร้าผิดปกติ (depressed) โรคนี้จึงมีชื่อเดิมว่า manic-depressive disorder

โรคไบโพลาร์พบได้ราวร้อยละ 2-5 ของประชากรทั่วไป โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีช่วงเวลาที่เกิดอารมณ์ซึมเศร้าผิดปกติบ่อยกว่าอารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ ขณะที่ผู้ป่วยบางรายอาจมีอารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติเพียงอย่างเดียวก็ได้

ทำความรู้จักโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว

ทำความรู้จักโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว
สาเหตุของโรคไบโพลาร์-lorenzogovoni.com

สาเหตุของโรคไบโพลาร์

ปัจจัยทางชีวภาพ

อาการของโรคไบโพลาร์จะเกิดขึ้นเมื่อมีสารสื่อประสาทนอร์อะดรีนาลีน เซโรโทนิน และโดปามีน ในระดับที่ไม่สมดุลกัน ซึ่งจะทำให้มีอารมณ์ดี อยู่ในภาวะร่าเริงผิดปกติ และจะมีภาวะซึมเศร้า เบื่อหน่าย สลับกันไป โดยสารสื่อประสาทในสมองที่ส่งผลต่อการเกิดโรคนี้ มีลักษณะดังนี้

สารนอร์อะดรีนาลีน (Noradrenaline) ซึ่งเป็นสารที่กระตุ้นการทำงานของระบบประสาท ซึ่งเกี่ยวข้องกับอารมณ์และการตอบสนองต่อความเครียด ความกลัว หรือความตื่นเต้นที่เกิดขึ้น รวมทั้งระบบความจำ การรับรู้ และการรู้สึกตัว

สารเซโรโทนิน (Serotonin) ที่ควบคุมการรับรู้ความรู้สึกและการทำงานของสมองสั่งการ เช่น ความรู้สึกอยากอาหาร ความจำระยะสั้น การนอนหลับ เป็นต้น

สารโดปามีน (Dopamine) เป็นสารที่ควบคุมอารมณ์ความรู้สึก เมื่อมีการหลั่งสาร จะกระตุ้นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทำให้ตื่นตัว กระฉับกระเฉง และว่องไว

ปัจจัยทางกรรมพันธุ์

ผู้ป่วยไบโพลาร์มักมีญาติที่ป่วยเป็นโรคนี้หรือโรคที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางอารมณ์ โดยเฉพาะญาติที่มีความใกล้ชิดเชื่อมโยงกันทางสายเลือดอย่างพ่อแม่ พี่หรือน้อง แม้จะยังไม่มีงานวิจัยสนับสนุนที่แน่ชัด แต่ก็ยังคงมีการศึกษายีนส์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคนี้อยู่อย่างต่อเนื่อง

ปัจจัยอื่น ๆ

ผู้ป่วยอาจได้รับแรงกระตุ้นจากปัจจัยภายนอกที่กระทบกระเทือนต่อสภาพจิตใจ เช่น ความผิดหวัง ความเสียใจอย่างรุนแรงหรือฉับพลัน การเจ็บป่วยทางร่างกาย ปัญหาความสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ชิด ความเครียดจากการเรียนและการทำงาน เป็นต้น

การรักษาโรคไบโพลาร์-lorenzogovoni.com

อาการของโรคไบโพลาร์

ผู้ป่วยไบโพลาร์จะมีอารมณ์แปรปรวนสลับกันระหว่างอารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ กับอารมณ์ซึมเศร้าผิดปกติโดยไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ใดๆ ในช่วงที่อารมณ์ซึมเศร้า ผู้ป่วยมักเบื่อหน่าย ท้อแท้ ไม่อยากทำอะไร อ่อนเพลีย มองทุกอย่างในแง่ลบ บางรายมีความคิดอยากตายซึ่งอาจนำไปสู่การฆ่าตัวตายจริงๆ ได้

สำหรับช่วงที่อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ ผู้ป่วยมักมีอาการดังต่อไปนี้ คือ

– รู้สึกว่าตนมีความสำคัญหรือมีความสามารถมาก

– นอนน้อยกว่าปกติมาก โดยไม่มีอาการเพลียหรือต้องการนอนเพิ่ม

– พูดเร็ว พูดมาก พูดไม่ยอมหยุด

– ความคิดแล่นเร็ว มีหลายความคิดเข้ามาในสมอง

– สมาธิลดลง เปลี่ยนความสนใจ เปลี่ยนเรื่องพูดหรือทำอย่างรวดเร็ว ตอบสนองต่อสิ่งเร้าง่าย

– มีกิจกรรมมากผิดปกติ อาจเป็นแผนการหรือลงมือกระทำจริงๆ แต่มักทำได้ไม่ดี

– การตัดสินใจเสีย เช่น ใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย ทำเรื่องที่เสี่ยงอันตรายหรือผิดกฎหมาย ไม่ยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ

นอกจากนี้ ผู้ป่วยบางรายอาจมีอารมณ์หงุดหงิดก้าวร้าวจนถึงขั้นทะเลาะหรือทำร้ายร่างกายผู้อื่น ในรายที่เป็นมากอาจมีอาการของโรคจิตร่วมด้วย เช่น คิดว่าตนมีความสามารถผิดมนุษย์ ได้ยินเสียงหรือเห็นภาพที่อื่นไม่ได้ยินหรือได้เห็น สำหรับช่วงเวลาขึ้น-ลงของอารมณ์นั้นไม่มีรูปแบบที่แน่นอนตายตัว อาจเป็นภายในหนึ่งวัน สัปดาห์ เดือน หรือปีก็ได้

การรักษาโรคไบโพลาร์

โรคไบโพลาร์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาเป็นหลัก โดยแพทย์จะให้ยาทางจิตเวชเพื่อปรับสารสื่อประสาทและควบคุมอารณ์ พร้อมทั้งให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคและยา รวมถึงการดูแลตนเองในด้านต่างๆ ควบคู่กันไปด้วย ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่จะหายจากอาการผิดปกติและกลับไปใช้ชีวิตประจำวันได้เหมือนเดิมภายในเวลาประมาณ 2-8 สัปดาห์

สำหรับผู้ป่วยบางราย แพทย์อาจแนะนำให้ทำจิตบำบัดร่วมด้วยเพื่อให้สามารถจัดการกับความเครียดได้ดียิ่งขึ้น และลดความขัดแย้งกับคนรอบข้างที่เป็นสาเหตุของความเครียดลง

อย่างไรก็ตาม โรคนี้มีอัตราการเป็นซ้ำสูงมากถึงร้อยละ 90 ดังนั้น แพทย์จะแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ปีสำหรับผู้ที่เป็นครั้งแรกเพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ และอาจนานกว่านี้ขึ้นอยู่กับจำนวนครั้งที่เคยเป็นและความรุนแรงของอาการในครั้งก่อนๆ

ทำอย่างไรเมื่อต้องอยู่กับผู้ป่วยโรคไบโพลาร์-lorenzogovoni.com

ทำอย่างไรเมื่อต้องอยู่กับผู้ป่วยโรคไบโพลาร์

ผู้ใกล้ชิด หรือญาติพี่น้องจะต้องทำความเข้าใจอาการของผู้ป่วยโรคไบโพลาร์ และต้องปฏิบัติตามวิธีการรับมือ ดังนี้

– ทำความเข้าใจตัวโรค ยอมรับ รับฟัง และให้กำลังใจผู้ป่วย

– ดูแลให้ผู้ป่วยทานยาตามแพทย์สั่ง ไม่ให้ผู้ป่วยหยุดยาเองก่อนปรึกษาแพทย์

– คอยดูแลพฤติกรรมไม่ให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมเสี่ยงอันตราย

– คอยดูแลพฤติกรรมการใช้เงินของผู้ป่วย

– สังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วย หากมีอาการรุนแรงขึ้นให้รีบพาไปพบแพทย์

แม้ทั้ง 2 โรคจะมีอาการทางอารมณ์ความรู้สึกจนถึงจุดที่ไม่อยากมีชีวิตอยู่ แต่สามารถหายเป็นปกติได้หากทำความเข้าใจโรค และเข้ารับการรักษาตามคำแนะนำของแพทย์ค่ะ

เป็นยังไงกันบ้างคะกับบทความ ทำความรู้จักโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว หรือโรคไบโพลาร์ ทุกท่านคงได้รู้ถึงสาเหตุของโรคนี้กันแล้วใช่ไหมคะ ภัยเงียบใกล้ตัวที่อันตรายกับตัวเราเองและคนรอบข้าง หากพบว่าตัวเองเริ่มมีอาการเราก็ควรพบจิตย์แพทย์เพื่อจะได้ทำการรักษาได้ทันกันนะคะ การคลายเครียดด้วยการเล่นเกมส์ก็เป็นอีกทางเลือกที่ง่ายๆ และสามารถทำได้เลยใช่ไหมละคะ สมัครสมาชิกLOTTOSOD เรามีเกมส์ให้เลือกเล่นมากมายแถมมีรายได้ให้เราได้ไปช้อปปิ้งอีกด้วยจ้า