โปรโมชั่น ดีๆ ที่ USUNGAME เท่านั้น

โปรโมชั่นคืนยอดเสีย รับโบนัส 3% ไม่จำกัด ทุกวัน

เงื่อนไข : การคืนยอดเสีย เริ่มรับได้ ทุกวัน ตั้งแต่ เวลา 01.00 น. ถึงเวลา 23.59 น. ของทุกวัน และรีเซทใหม่ทุกวัน

***บริษัทขอสงวนสิทธ์ในการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข ยกเลิกได้ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

เป็นโรคซึมเศร้าจริง หรือแค่คิดไปเอง วันนี้แอด LOTTOSOD จะนำเรื่องราวของโรคที่บางครั้งหลายๆคนอาจจะสงสัยว่าตัวเองอยู่ในภาวะเครียดเกินไปหรือกลายเป็นโรคซึมเศร้าไปแล้ว  อารมณ์เปลี่ยนไปมาจนแม้กระทั้งตัวเองก็ตามไม่ทัน วันนี้แอดจึงนำ เป็นโรคซึมเศร้าจริง หรือแค่คิดไปเอง สองโรคที่ทุกคนคุ้นชื่อกันดีมาให้ทุกท่านได้สังเกตุอาการของตนเองหรือแม้กระทั่งคนใกล้ชิดนั่นเองค่ะ

“ซึมเศร้า” ทางการแพทย์ หรือ Clinical depression หมายถึง ภาวะซึมเศร้าที่มีมากกว่าอารมณ์เศร้า และเป็นพยาธิสภาพแบบหนึ่งที่พบได้ในหลายๆ โรคทางจิตเวช โดยเฉพาะโรคทางอารมณ์ คือ โรคซึมเศร้า (Major Depressive Disorder หรือ Depressive Episode) และ โรคไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) โรคทางอายุรกรรมบางโรค สารยาบางชนิดสามารถทำให้เกิดอาการซึมเศร้าที่รุนแรงได้

เป็นโรคซึมเศร้าจริง หรือแค่คิดไปเอง

เป็นโรคซึมเศร้าจริง หรือแค่คิดไปเอง
โรคซึมเศร้าเกิดจากอะไร-lorenzogovoni.com

โรคซึมเศร้าเกิดจากอะไร

สาเหตุที่จะกระตุ้นการเกิดโรคซึมเศร้าที่พบบ่อยก็คือ การมีทั้งความเสี่ยงทางพันธุกรรม, ทางสภาพจิตใจ, ประจวบกับการเผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย ร่วมกันทั้ง 3 ปัจจัย

โรคซึมเศร้าเกิดจากความเครียด แต่ทั้งนี้คนที่ไม่มีญาติเคยป่วยก็อาจเกิดเป็นโรคนี้ได้ มักพบว่าผู้ป่วยโรคนี้จะมีความผิดปกติของระดับสารเคมี ที่เซลล์สมองสร้างขึ้น เพื่อรักษาสมดุลของอารมณ์

สภาพทางจิตใจที่เกิดจากการเลี้ยงดู ก็เป็นปัจจัยที่เสี่ยงอีกประการหนึ่งต่อการเกิดโรคซึมเศร้าเช่นกัน คนที่ขาดความภูมิใจในตนเองมองตนเองและโลกที่เขาอยู่ในแง่ลบตลอดเวลา หรือเครียดง่ายเมื่อเจอกับมรสุมชีวิต ล้วนทำให้เขาเหล่านั้นมีโอกาสป่วยง่ายขึ้น

การเผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย เช่น หากชีวิตพบกับการสูญเสียครั้งใหญ่ต้องเจ็บป่วยเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบรื่น หรือต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ปรารถนา ก็อาจกระตุ้นให้โรคซึมเศร้ากำเริบได้

อาการของโรคซึมเศร้า

ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้ามีอาการที่บ่งบอกหลายอย่าง ซึ่งรวมถึงอาการที่คล้ายกับโรคจิตเวชอื่นๆ บางอาการก็เกิดขึ้นเพียงระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาวะซึมเศร้าที่สามารถหายได้เอง มาดูกันว่าคนเป็นโรคซึมเศร้าจะมีอาการอย่างไร และเงื่อนไขของอาการต่างๆ มีอะไรบ้าง ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการดังต่อไปนี้เกิดขึ้นอย่างน้อย 5 ข้อ

– รู้สึกเศร้า อยากร้องไห้ เคว้งคว้าง หรือไร้ความหวัง อาการเกิดขึ้นบ่อยๆ ใน 1 วัน

– รู้สึกหงุดหงิด ไม่พอใจ หรือโกรธกับเรื่องเล็กๆ น้อยๆ

– รู้สึกขาดความสนใจ ไม่อยากทำหรือไม่สนุกกับกิจกรรมที่ชอบ หรือกิจวัตรปกติที่เคยทำ

– มีอาการเบื่ออาหาร หรือต้องการทานอาหารมากขึ้น ส่งผลให้น้ำหนักเพิ่มและลดลงจากปกติ

– รู้สึกนอนหลับยาก นอนน้อย หรืออยากนอนมากกว่าปกติ

– รู้สึกร้อนรน วิตกกังวล และกระสับกระส่าย

– รู้สึกเหนื่อยล้า หรือไม่มีพลังทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน

– รู้สึกไร้ค่าและรู้สึกผิดกับตัวเองหรือสิ่งที่ทำ ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านี้ไม่เคยรู้สึกแบบนี้มาก่อน

– ความสามารถในการจดจ่อ การคิด การตัดสินใจ และความจำลดลง

– คิดอยากทำร้ายร่างกายตัวเอง หรืออาจรุนแรงถึงขั้นคิดฆ่าตัวเอง

ซึ่งอาการเหล่านี้จะแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจน และปรากฏในชีวิตประจำวัน ส่งผลกระทบต่อการทำกิจกรรม การเรียน การทำงาน และการเข้าสังคมหรือความสัมพันธ์กับผู้อื่น รวมถึงรู้สึกผิดหวัง เศร้า หรือไม่มีความสุขโดยไม่ทราบสาเหตุ นอกจากนี้ยังมีอาการที่แสดงออกทางร่างกายอื่นๆ อีก เช่น เคลื่อนไหวหรือพูดช้าลง ท้องผูก เจ็บหรือปวดตามร่างกายแบบไม่ทราบสาเหตุ เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย แรงขับทางเพศ (Labido) ลดลง ประจำเดือนมาไม่ปกติ

อาการของโรคซึมเศร้า-lorenzogovoni.com

การรักษาโรคซึมเศร้า

การทำจิตบำบัด

เป็นการพูดคุยเพื่อรับฟังปัญหา ช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้นหรือปรับทัศนคติและวิธีคิดของผู้ป่วยเอง ส่วนใหญ่จะใช้วิธีที่เรียกว่า Cognitive behavioral therapy (CBT) เป็นการบำบัดที่เน้นให้ผู้ป่วยเข้าใจในปัญหาและความคิดแง่ลบที่เกิดขึ้น ก่อนจะค่อยๆ ปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมเหล่านั้นให้เป็นไปในแง่บวกมากยิ่งขึ้น

การทานยา

ยาที่ใช้ในการรักษาโรคซึมเศร้าแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ

SSRI เป็นกลุ่มยาที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้าและวิตกกังวล กลไกหลักคือการยับยั้งการดูดซึมกลับของเซโรโทนิน

TCA เป็นกลุ่มยาที่ได้รับความนิยม ช่วยยับยั้งการดูดซึมกลับของสารสื่อประสาทหลายชนิด

NDRI เป็นอีกกลุ่มยาที่ใช้กับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า โดยเฉพาะกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องการนอนไม่หลับรุนแรง

*ยาแต่ละชนิดมีผลข้างเคียง ต้องได้รับการสั่งยาจากแพทย์เท่านั้น และควรใช้ตามที่แพทย์หรือเภสัชกรแจ้งอย่างเคร่งครัด

การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive Therapy: ECT)

เป็นการใช้กระแสไฟฟ้าที่มีความเข้มข้นต่ำกับผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีอาการรุนแรง หรือผู้ที่รักษาด้วยจิตบำบัดและการทานยาแต่ไม่ดีขึ้น การรักษาด้วยไฟฟ้าจะเป็นการทำด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ ทั้งจิตแพทย์ วิสัญญีแพทย์ และพยาบาล โดยผู้ป่วยจะเข้ารับการรักษา 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์

ทำอย่างไรเมื่อต้องอยู่กับผู้ป่วย โรคซึมเศร้า

แม้โรคซึมเศร้าจะสามารถป้องกันได้ แต่หากเกิดขึ้นแล้วผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควรจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไรนั้น ผศ.นพ.คมสันต์ เกียรติรุ่งฤทธิ์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ข้อมูลไว้ดังนี้

– เข้าใจว่าสิ่งที่เกิดไม่ได้แกล้งทำ และผู้ป่วยไม่ต้องการจะเป็น แต่ไม่สามารถห้ามหรือหยุดตัวเองได้

– คอยให้กำลังใจ รับฟัง แสดงออกถึงความรักความเป็นห่วง ทั้งการพูดบอก โอบกอด ลูบหัว จับมือ

– แสดงให้เห็นถึงความพร้อมที่จะช่วยเหลือเสมอ ช่วยค้นหาปัญหา-ความเครียดของผู้ป่วย

– ชวนทำกิจกรรมผ่อนคลายต่าง ๆ ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามปกติ และมีงานอดิเรกหลากหลาย

– พยายามให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ พอเพียง และนอนหลับพักผ่อนอย่างพอเพียง

– หากทำทุกอย่างไม่ดีขึ้น หรือมีผลกระทบเกิดขึ้น ให้พาไปปรึกษาจิตแพทย์

วิธีการรักษาโรคซึมเศร้า-lorenzogovoni.com

ไม่ว่าจะเป็นโรคซึมเศร้า โรคที่ทุกสามารถเป็นได้กันทั้งนั้นและสามารถรักษาให้หายได้แต่ก็สามารถกลับมาเป็นได้อีก เป็นโรคซึมเศร้าจริง หรือแค่คิดไปเอง ในบทความที่แอดนำฝากวันนี้คงเป็นข้อมูลให้ทุกท่านได้เฝ้าสังเกตุอาการของตนเองหรือคนใกล้ชิดได้ใช่ไหมคะ หากใครที่มีอาการควรรีบปรึกษาแพทย์กันนะคะ การพบจิตแพทย์ไม่ใช่เรื่องน่าอายค่ะ ในยุคสมัยที่มีมีความเครียดกันมากมายการพบจิตแพทย์บ้างก็เป็นสิ่งที่ดีนะคะ ส่วนใครที่อยากหาเกมส์เล่นเพื่อคลายเครียดแถมยังได้เงินอีกเชิญ สมัครสมาชิกLOTTOSOD กับเราสิคะ รับรองความสนุกและหลากหลายของเกมส์มาไว้ที่นี่แล้วค่ะ